กว้าง 100 เมตร ความยาวตามความเหมาะสมใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 800 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ หรือสูตร
15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ คลุมให้ทั่วแปลงรดน้ำตามทันที
//////การให้น้ำ กะเพราเป็นพืชที่ต้องการความชื้นสูงและสม่ำเสมอมีการรดน้ำทุกวันแต่อย่าให้น้ำท่วมขังในแปลง
//////การพรวนดินกำจัดวัชพืช ในระยะแรกควรมีการปฏิบัติทุก 1-2สัปดาห์โดยการใช้มือถอนจอบหรือเสียมดายหญ้าออก ระวังอย่าให้กระทบต้นและราก
//////การให้ปุ๋ย หลังจากปลูก 15 วัน ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต ( 21-0-0) อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ ละลายน้ำรด และใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม
/ไร่ ทุกครั้งหลังการเก็บเกี่ยว
//////การป้องกันกำจัดโรคแมลง พืชตระกูลนี้ เป็นพืชที่ไม่ค่อยมีปัญหาการรบกวนจากโรค-แมลงศัตรูเท่าใดนัก การแก้ไขปัญหาไม่ควรใช้สารเคมี
//////อายุการเก็บเกี่ยว หลัง ปลูกประมาณ 30 - 35 วัน ทำการเก็บเกี่ยวได้โดยการใช้มีดตัดห่างจากยอด 10 - 15 เซนติเมตร การเก็บเกี่ยวสามารถกระทำได้ทุกวัน 15 - 20 วันไปจนถึงอายุ 7 - 8 เดือน ส่วนที่ใช้ ใบ , เมล็ด , ราก
//////ประโยชน์ ใช้ใบปรุงเป็นอาหารจำพวกผัก มีรสเผ็ดร้อนนำมาปรุงเป็นเครื่องกับแกล้มก็ได้ แกงก็ดีเช่นแกงเลียงเป็นต้น
http://pcog.pharmacy.psu.ac.th/thi/article1-52.asp
/รส <<< รสเผ็ดร้อน สรรพคุณในตำรายาไทย ///////ใบ <<< ใบสดของมัน มีน้ำมันหอมระเหยอยู่ เป็นยาแก้ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุ ไฟธาตุ ขับผายลม แก้ลมตานซาง แก้อาการจุกเสียดในท้อง แก้คลื่นเหียนอาเจียน ให้ใช้ใบสด หรือยอด อ่อน สัก 1 กำมือ มาต้ม ให้เดือด แล้วกรอง เอาน้ำดื่ม แต่ถ้าใช้กับเด็กทารกให้นำเอามาตำให้ ละเอียดคั้นเอาน้ำนำ มา ผสมกับน้ำยามหาหิงคุ์แล้วใช้ทาบริเวณ รอบ ๆสะดือ และทาที่ฝ่าเท้าแก้อาการ ปวดท้องของเด็กได้ /////,,,,,บ <<< ใบแห้ง ใช้ชงกินกับน้ำ แก้ท้องขึ้น /////,,,,,บ <<< น้ำที่เราเอามาคั้นออกจากใบยังใช้ ขับเสมหะ ขับเหงื่อ หรือใช้ทาภายนอกแก้โรค ผิว หนังกลาก เกลื้อนได้โดยใช้ใบ สด 15-20 ใบ ตำหรือขยี้ให้น้ำออกมา ใช้ทาถูตรงบริเวณที่เป็นกลาก ทา วันละ 2-3 ครั้ง จนกว่าจะหาย /////,,,,,บ <<< ใช้ไล่หรือฆ่ายุงใช้ทั้งใบสดและกิ่งสด 1 กิ่งใหญ่ ๆ เอาใบมาขยี้ แล้ววางไว้ใกล้ๆ ตัว จะช่วยไล่ยุงได้ /////,,,,,บ <<< น้ำมันกะเพรา นั้นสกัดโดยใช้ใบสดมากลั่นด้วยไอน้ำจะได้น้ำมันกะเพราที่มีคุณสมบัติ สามารถยับยั้งการเจริญ เติบโตของเชื้อโรคบางชนิด ช่วยฆ่าเชื้อจุลินทรีย์บางอย่าง และ มีคุณสมบัติไล่ ยุงได้ดีกว่าต้นสดๆ /////,,,,,บ <<< ใช้น้ำมันที่กลั่นจากใบสด ปริมาณตามความเหมาะสม หรือจะใช้ใบสดนำไปขยำให้มี กลิ่นแล้วนำไปใส่ในขวดเพื่อล่อแมลงวันทองเมื่อแมลงวันทองได้กลิ่นใบกระเพราะ จะบินเข้ามาติดกับให้ นำ ขวด ที่ม ีแมลงวันทองติดอยู่ไปใส่น้ำให้เต็มจะสามารถ ฆ่าแมลงวันทองได้ /////,,,,,บ <<< ยาเพิ่มน้ำนมในสตรีหลังคลอดใช้ใบกะเพราสด 1 กำมือ แกงเลียงรับประทานหลัง คลอดใหม่ๆ /////,,,,,บ <<< บรรเทาอาการปวดหู โดยใบสดไปตำให้ละเอียดคั้นเอาแต่น้ำ แล้วนำไปหยอดหู |
///////ดอก ///รักษาโรคหลอดลมอักเสบ แก้ตานขโมย ท้องขึ้นผอมแห้ง ///////ต้น ////ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุแก้ธาตุพิการ แก้ตานซาง แก้หูด ///////เมล็ด/ / เมื่อนำไปแช่น้ำเมล็ดก็จะพองตัวเป็นเมือกขาว ให้ใช้พอกในบริเวณตาเมื่อตา //<<<<<<<<มีผงหรือฝุ่นละอองเข้า ผงหรือฝุ่นละอองนั้นก็จะออกมา ซึ่งจะไม่ทำให้ตาเรา //<<<<<<<<ช้ำอีกด้วยขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุแก้ธาตุพิการ ///////ราก /,//รักษาโรคทางเดินปัสสาวะใช้รากที่แห้งแล้ว ชงหรือต้มกับน้ำร้อนดื่มแก้โรค ///<<<<,//ธาตุพิการและสามารถใช้เป็นยาธาตุสำหรับเด็ก ///////ทั้งต้น /, ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง บำรุงธาตุ แก้ธาตุพิการ แก้ตานซาง แก้หูด ////,,,,,,,,,,,,,,,,///แก้ปวดฟันแก้ริดสีดวงทวารหนัก แก้ริดสีดวงบานทะโรค แก้มูกเลือดกระทั่ง ////,,,,,,,,,,,,,,,,///ดากออก สารเคมี ////,,,,,,,,, ในใบกะเพรามีน้ำมันหอมระเหยเป็นองค์ประกอบหลัก ซี่งประกอบด้วย camphor, carvacrol, eugenol, eugenol methyl ether, linalool, methyl chavicol, เป็นต้น นอกจากนี้ยังประกอบด้วย กรดไขมัน สเตอรอล และเบต้าแคโรทีน |
Lamiaceae (Labiatae)
เครื่องปรุงมีดังนี้ค่ะ:
- เนื้อหมูสันนอก
- ใบกระเพรา
- พริกขี้หนู และกระเทียม ปั่นรวมกัน
- น้ำมันหอย, ซีอิ๊วขาว, น้ำปลาดี, น้ำตาลเล็กน้อย(ไว้ตัดรสค่ะ)
http://www.eatshowandtell.com/2009/10/31/holy-basil-canley-heights/
The Lamiaceae (the mint family) are important and many are of great economic importance. They are widely used in traditional systems of medicine and horticulture.
Research on the Lamiaceae at the Royal Botanic Gardens, Kew is multi-disciplinary. Current research encompasses macromorphology, molecular systematics, phytochemistry, cytogenetics, and palynology.
The research team produces Vitex (formerly the Lamiales Newsletter) which acts as an international forum for discussion and contact between all researchers working on the Lamiaceae and Verbenaceae.
For further information, please select one of the following topics:
- Definition of Lamiaceae
- General uses
- List of genera
- Current research
- Publications list (incomplete)
- Lavandula collection
- Lamiales / Vitex Newsletter
http://www.kew.org/science/lamiaceae.html
กะเพรา เป็นพืชพื้นเมืองของเขตร้อนในทวีปเอเชียและ แอฟริกา โดยเฉพาะในประเทศอินเดียได้นำกะเพรา
ไปใช้ทางด้านศาสนาและการแพทย์ โดยเฉพาะการแพทย์อายุรเวทและศาสนาฮินดู มีการใช้ในการรักษาโรคภัยไข้
้เจ็บกันมานาน มากกว่า 5,000 ปี จนถูกจัดให้เป็น ” ราชินีสมุนไพร ( Queen of herb) ” ใช้รักษาบรรเทาอาการของโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและจิตวิญญาณ โดยกะเพรานั้นมีคุณสมบัติช่วยปรับธาตุ ช่วยภาวะสมดุลหลายกระบวนการต่างๆในร่างกายให้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้เผชิญความเครียดได้ดียิ่งขึ้น ในประเทศอินเดียและเนปาลนั้น ต้นกะเพราได้รับการเคารพบูชา ในฐานะพืชศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ผู้เป็นเจ้าตามตำนานเรื่องหนึ่งที่เล่ากันอย่างแพร่หลายคือครั้ง หนึ่งนานมาแล้วได้มีหญิงชาวบ้านนางหนึ่งชื่อว่า “ นางตุลสิ ” นางมีความเคารพเลื่อมใสศรัทธาต่อองค์พระ นารายณ์ ผู้เป็นเจ้าเป็นอันมาก ได้ทำพิธีบูชาองค์พระนารายณ์ ขอให้นางได้เป็นมเหสีของพระองค์ให้จงได้ คำอ้อนวอนของนางตุลสิ นั้นไปเข้าหูพระลักษมีซึ่งเป็นมเหสีของพระนารายณ์ ทำให้พระแม่เจ้าเกิดความหึงหวง เลยสาปแช่งนางตุลสิให้กลายเป็น ต้นไม้ขึ้นมาต้นหนึ่ง ซึ่งต่อมาได้เรียกต้นไม้นั้นว่า
“ ต้นตุลสิ ” ตามชื่อของนาง เมื่อชาวฮินดูได้เดินทางมาที่แหลมสุ วรรณภูมิได้นำต้นไม้นั้นเข้ามาด้วย และต้นตุลสินี้เองก็คือ
“ ต้นกะเพรา ” ในภาษาไทย ด้วยเหตุผลที่ชาวฮินดูนับถือ กะเพราเป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์นั้นก็เพราะว่า ต้นตุลสิได้เป็นมเหสีของ
พระนารายณ์ตามคำอ้อนวอนขอแล้วนั่นเอง
ชื่อวิทยาศาสตร์ /////: Ocimum sanctum Linn.
ชื่อวิทยาศาสตร์พ้อง : Ocimum tenuiflorum .Linn.
ชื่ออื่น : กะเพรา กะเพราขาว กะเพราแดง กะเพราขน (ภาคกลาง)
ก่ำก้อขาว ก่ำก้อดำ กอมก้อขาว กอมก้อดำ (เชียงใหม่-ภาคเหนือ) อีตู่ไทย (อิสาน)
ห่อตูปลู ห่อกวอซู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) อิ่มคิมหลำ(ฉาน-แม่ฮ่องสอน)
Holy basil. Sacred basil. Tulsi. (สันสกฤต) Tulasi. (ฮินดู)
กะเพราอยู่ในวงศ์ //: Labiatae (Lamiaceae)
ลักษณะทั่วไป // ///:
////// กะเพรามี 3 พันธุ์ คือ กะเพราแดง กะเพราขาวและ กะเพราลูกผสมระหว่าง
กะเพราแดงและกะเพราขาว ต่างกันที่กลิ่นและกิ่งก้าน ซึ่งมีขนปกคลุม ใบของ
กะเพราขาวมีสีเขียวอ่อน ส่วนใบของกะเพราแดงสีเขียว แกมม่วงแดง นอกจากนั้น
ดอกของกะเพราแดงสีเข้มกว่ากะเพราขาว กะเพราแดง มีฤทธิ์แรง กว่ากะเพราขาว
นิยมใช้ในทางยา แต่ถ้าประกอบอาหารมัก ใช ้กะเพราขาว
>>>> ต้น กะเพราเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูง ประมาณ 30-60 เซนติเมตร โคนของลำต้นเนื้อไม้แข็ง มีขนทั่วไปและมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว
>>>> ใบ กะเพราถ้าใบมีสีเขียว เรียกว่า กะเพราขาว ใบสีแดงเรียกว่า กะเพราแดง ใบของมันมีขน โดยเฉพาะส่วนที่เป็นยอดของมันจะมีมากกว่าส่วน อื่น ๆ ใบมีกลิ่นหอม
>>>> กิ่ง กิ่งก้านเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนปลายของกิ่งมักจะอ่อน
>> >> ดอก ดอกออกเป็นช่อ ตั้งขึ้นไปเป็นชั้นๆคล้ายรูปฉัตร กลีบดอกกะเพราขาว
มีสีขาว แต่ ถ้าเป็นกะเพราแดง มีสีชมพูอมม่วง
>>>> เมล็ด เมื่อแก่หรือแห้ง เมล็ดจะเป็นสีดำ อยู่ข้างในซึ่งถูกหุ้มด้วยกลีบเลี้ยง
No comments:
Post a Comment