Tribute for the unsurvivor GAURS...Sugar feel upset for long months...
http://kuiburinp.blogspot.com/2009/06/blog-post.html
Article 4. Relationship with International Agreements and Instruments
Noah (cloned gaur)
From Wikipedia, the free encyclopedia
|
Noah was the name of species of ox called gaur, cloned and gestated in the womb of a cow named Bessie. Gaur is a vulnerable species according to the IUCN. The baby bull gaur was delivered on January 8, 2001, but died within just 48 hours of a commondysentery on January 10, 2001. Noah's condition was monitored by Dr. Jonathan Hill and his teammates in Iowa. The process used to clone Noah was nuclear transfer. Researchers from Advanced Cell Technology (ACT) in Massachusetts said the problem was unlikely to be related to the cloning procedure itself.
References[edit]
- BBC News. 2000. Website. Endangered species cloned. BBC. Retrieved May 31, 2008.
- CNN.com. 2001. Website. First cloned endangered species dies 2 days after birth. CNN.com. Retrieved May 31, 2008
This article about an even-toed ungulate is a stub. You can help Wikipedia by expanding it. |
อุ
การเฝ้าดู กระทิง ที่อาศัยและหากินตามธรรมชาติถือเป็นกิจกรรมสำคัญที่ไม่ควรพลาด สามารถดูได้ที่บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ กร.1 ป่ายาง เวลา 16.00น. -18.00 น. ทางอุทยานแห่งชาติกุยบุรีได้ทำการสำรวจและจัดทำสถานที่ชมกระทิงไว้เป็นแห่งๆ โดยจัดทำ ห้างบนต้นไม้ ตามแหล่งน้ำ แปลงหญ้าแหล่งอาหารสัตว์ นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อเข้าชมได้ทยานแห่งชาติกุยบุรี
อุทยานแห่งชาติกุยบุรี KUIBURI NATIONAL PARK หมู่ที่ 9 บ้านย่านซื่อ ตำบล หาดขาม อำเภอ กุยบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ที่อยู่ ตู้ปณ.10 ปณจ.กุยบุรี อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77150 เบอร์โทรศัพท์ 032-646292 แฟกซ์ 032-
Gaur
Text of the Nagoya Protocol
Preamble
Article 1. Objective
Article 2. Use of Terms
Article 3. Scope
Article 4. Relationship with International Agreements and Instruments
Article 5. Fair and Equitable Benefit-Sharing
Article 6. Access to Genetic Resources
Article 7. Access to Traditional Knowledge Associated with Genetic Resources
Article 8. Special Considerations
Article 9. Contribution to Conservation and Sustainable Use
Article 10. Global Multilateral Benefit-Sharing Mechanism
Article 11. Transboundary Cooperation
Article 12. Traditional Knowledge Associated with Genetic Resources
Article 1. Objective
Article 2. Use of Terms
Article 3. Scope
Article 4. Relationship with International Agreements and Instruments
Article 5. Fair and Equitable Benefit-Sharing
Article 6. Access to Genetic Resources
Article 7. Access to Traditional Knowledge Associated with Genetic Resources
Article 8. Special Considerations
Article 9. Contribution to Conservation and Sustainable Use
Article 10. Global Multilateral Benefit-Sharing Mechanism
Article 11. Transboundary Cooperation
Article 12. Traditional Knowledge Associated with Genetic Resources
ข้อตกลงอนุสัญญาว่าด้วยความหลากลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD)
หลักการและสาระสำคัญ
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพเป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศที่มีเจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษาวินัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งหมายถึง แม้มีความต้องการอย่างมากที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็ต้องไม่ละเลยการอนุรักษ์ธรรมชาติด้วย อนุสัญญาฯ มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการคือ
(1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
(2) เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
(3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม
เนื้อหาของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ มีลักษณะเป็นกรอบนโยบายที่กว้าง ซึ่งในการดำเนินงานแต่ละประเทศจะต้องจัดทำนโยบาย มาตรการ และแผนการดำเนินงานขึ้นเอง ดังนั้น อนุสัญญาฯ จึงได้เตรียมกลไกการเงิน ซึ่งคือ กองทุนสิ่งแวดล้อมโลกไว้สนับสนุนการดำเนินงานดังกล่าวของประเทศกำลังพัฒนา เพื่อให้สัมฤทธิ์ผลดังวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาฯ
อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 2536 และมีการประชุม The Conference of the Parties to the Convention on Biological Diversity; COP) เพื่อมีการหาข้อยุติในประเด็นขัดแย้งต่างๆ ในอนุสัญญามาแล้ว ถึง 8 ครั้ง โดยครั้งสุดท้าย จัดขื้นที่เมืองคูริติบา ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 20-31 มีนาคม 2549 ประเทศไทยได้ลงนามรับรองอนุสัญญา เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2535 และได้ให้สัตยาบรรณเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีอนุสัญญา ลำดับที่ 188 จาก 190 ประเทศ (มีนาคม 2550)
พันธกรณีของภาคี
(1) เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาฯ กำหนดให้แต่ละประเทศภาคีต้องดำเนินการ ดังนี้
(1.1) ดำเนินการให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้และเท่าที่เหมาะสม เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ อันได้แก่ การจัดตั้งระบบพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ซึ่งต้องการมาตรการพิเศษ เพื่อสงวนรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและกำหนดมาตรการเฉพาะเรื่องอีกมากกว่าสิบมาตรการ
(1.2) อนุรักษ์นอกถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ โดยวางมาตรการบำรุงและฟื้นฟูชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และนำกลับเข้าสู่ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติเดิมอย่างยั่งยืน
(2) เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน อนุสัญญาฯ กำหนดให้แต่ละภาคี
(2.1) ต้องผสานการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ให้เข้ากับนโยบายและแผนของชาติ
(2.2) ต้องสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นในการจัดทำและปฏิบัติตามมาตรการแก้ไขฟื้นฟูในพื้นที่เสื่อมโทรม
(2.3) ต้องส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาวิธีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน
(3) เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างยุติธรรมและเท่าเทียม อนุสัญญาฯ ได้ระบุไว้อย่งชัดเจนว่า “อำนาจในการพิจารณากำหนดการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรม ขั้นอยู่กับรัฐบาลแห่งชาติ” และกำหนดให้ภาคีต้อง
(3.1) พยายามสร้างเงื่อนไข เพื่ออำนวยแก่การเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมหากเป็นการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้น
(3.2) วางกลไกในการต่อรองผลประโยชน์บนเงื่อนไขการตกลงร่วมกันระหว่างผู้ให้และผู้ขอใช้พันธุกรรม
(3.3) ให้ประเทศซึ่งเป็นผู้ให้ทรัพยากรพันธุกรรมได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีซึ่งใช้ทรัพยากรพันธุกรรมนั้นจากประเทศผู้รับ ทั้งนี้ บนพื้นฐานแห่งความยุติธรรมและความเสมอภาค
(4) ประเทศสมาชิกต้องสนับสนุนทางการเงิน
https://www.cbd.int/abs/
Later this month, an extraordinary event is due to take place: a cow will give birth in Iowa. Cows give birth all the time, especially in Iowa, but the difference is that this cow is not giving birth to another cow, but rather to a gaur.
Gaurs are huge ox-like animals from Asia that are highly endangered. Formerly hunted for sport, they now suffer from habitat loss and could soon be extinct. A novel attempt is now being made to save the gaur by cloning them, thereby enabling ordinary cows to produce new gaurs. The first gaur, destined to be born this month, is due to be named Noah (although perhaps a better choice of name would be Al).
Other rare animals, too, are scheduled for cloning, including the bongo, cheetah, Sumatran tiger, and, of course, the giant panda. It might even be possible to bring back an animal that is already extinct. The last bucardo, a mountain goat from Spain, died of a smashed skull when a tree fell on it early this year, but scientists have preserved some of its cells. It is not a straightforward procedure, however, as even if there are remaining surviving animals, they are too rare to be used as host mothers. This means that similar species must be persuaded to accept the cells of the clones - by no means a simple process. Six hundred and ninety-two attempts were necessary to produce the gaur clone. What's the point? Why spend so much effort and expense to save one species? What difference does it make if it becomes extinct? Why is conservation important?
รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตามได้จาก เว็บ Convention on Biological Diversity หรือที่เว็บ กลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ
http://www.newscientist.com/article/dn323-rare-clone-dies.html#.Utvsc9L-LUI
http://zootorah.com/essays/going-extinct
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CONVENTION ON BIOLOGICAL DIVERSITY: CBD)
http://admin.pha.nu.ac.th/PH-ResearchWebBlog/index.php?/archives/4-Convention-on-Biological-Diversity-CBD.html
ย้าย 'หัวหน้าอุทยานกุยบุรี' เซ่นกระทิงตาย 16 ตัว - ข่าวไทยรัฐออนไลน์
www.thairath.co.th/content/edu/391825
Translate this pageประสานทีมสืบสวน สตช. สอบข้อเท็จจริงกระทิงตาย 16 ตัว ...
ประจวบคีรีขันธ์-13 องค์กรเครือข่ายอนุรักษ์ สรุปสาเหตุกระทิงตาย เพราะแย่งชิงผลประโยชน์จากการยกป่ากุยบุรีเป็นมรดกโลก นายพงษ์พันธ์ วิเชียรสมุทร นายอำเภอกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ กล่าวว่า จากการหาข้อสรุปสาเหตุกระทิงตายร่วมกับกำนัน....... อ่านต่อได้ที่ : http://bit.ly/1g9p1j4
นอกจากนั้น หลังจาก น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีเดินทางมาดูช้างป่าและกระทิงเมื่อเดือน ส.ค. 2556 และมีแนวคิดในการพัฒนาผืนป่ากุยบุรีให้เป็นซาฟารีเมืองไทยเต็มรูปแบบ ควบคู่กับการทำ มัลดิฟส์เมืองไทยที่อุทยานแห่งชาติเกาะตะรุเตา ....... อ่านต่อได้ที่ : http://bit.ly/1g9p1j4
ประจวบคีรีขันธ์-13 องค์กรเครือข่ายอนุรักษ์ สรุปสาเหตุกระทิงตาย เพราะแย่งชิงผลประโยชน์จากการยกป่ากุยบุรีเป็นมรดกโลก นายพงษ์พันธ์ วิเชียรสมุทร นายอำเภอกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ กล่าวว่า จากการหาข้อสรุปสาเหตุกระทิงตายร่วมกับกำนัน....... อ่านต่อได้ที่ : http://bit.ly/1g9p1j4
http://www.posttoday.com/%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A1.-%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87/268989/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C
http://www.dld.go.th/biodiversity/protocol/nagoya/ABS%20Protocol%20adopted%20by%20COP10%20-issues%20-%20rev01.pdf
The Nagoya Protocol on Access and Benefit-sharing
The Nagoya Protocol on Access to Genetic Resources and the Fair and Equitable Sharing of Benefits Arising from their Utilization to the Convention on Biological Diversity is an international agreement which aims at sharing the benefits arising from the utilization of genetic resources in a fair and equitable way, including by appropriate access to genetic resources and by appropriate transfer of relevant technologies, taking into account all rights over those resources and to technologies, and by appropriate funding, thereby contributing to the conservation of biological diversity and the sustainable use of its components. It was adopted by the Conference of the Parties to the Convention on Biological Diversity at its tenth meeting on 29 October 2010 in Nagoya, Japan. The Nagoya Protocol will enter into force 90 days after the date of deposit of the fiftieth instrument of ratification.
The fair and equitable sharing of the benefits arising out of the utilization of genetic resources is one of the three objectives of the Convention on Biological Diversity. For background information on the Convention's work programme on access and benefit-sharing prior to the adoption of the Nagoya Protocol and information on the negotiations of the Nagoya Protocol, please visit the folowing pages: Backgroundand ABS Developments under the CBD Prior to the Nagoya Protocol.
- What's New
- Notifications
- Upcoming Meetings
- News Headlines
ประจวบคีรีขันธ์-13 องค์กรเครือข่ายอนุรักษ์ สรุปสาเหตุกระทิงตาย เพราะแย่งชิงผลประโยชน์จากการยกป่ากุยบุรีเป็นมรดกโลก นายพงษ์พันธ์ วิเชียรสมุทร นายอำเภอกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ กล่าวว่า จากการหาข้อสรุปสาเหตุกระทิงตายร่วมกับกำนัน....... อ่านต่อได้ที่ : http://bit.ly/1g9p1j4
http://www.onep.go.th/library/index.php?option=com_content&view=article&id=62:-convention-on-biological-diversity-cbd&catid=26:2012-04-02-06-57-22&Itemid=34
http://www.thairath.co.th/content/edu/391825
No comments:
Post a Comment